สถาปนิก : ออกแบบงานสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในทุกประเภท
อาจารย์พิเศษและวิทยากรพิเศษ : ตามมหาวิทยาลัยและบริษัทของรัฐและเอกชน
อาจารย์ CG Design หลักสูตร Architecture & Interior Design
การศึกษา
ปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม(M.Arch)
มหาวิทยาลัยศิลปากร (เกรดเฉลี่ย3.90)
ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (B.Arch) มหาวิทยาลัยศรีปทุม เกียรตินิยม อันดับ 1
อ่านบทสัมภาษณ์และประวัติอาจารย์ผู้สอนเพิ่มเติม
หลักสูตร 5 วัน อบรม เวลา 10.00 - 16.00 น.(มีพักเที่ยงและCoffee Break)
หมายเหตุ : ในการเปิดอบรมแบบกลุ่มจะเปิดอบรมเมื่อมีผู้เรียนตั้งแต่ 3 ท่านขึ้นไปเท่านั้น
ดูตารางเรียน
พร้อมเอกสารประกอบการสอน
2. โอนเข้าบัญชีธนาคารได้ดังนี้
ธนาคาร / Bank | ชื่อบัญชี / Name | สาขา | เลขที่บัญชี | บัญชี | |
ธนาคารกสิกรไทย (KBank) | นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม (Mr.Arnon Chanjam) |
สยามสแควร์ | 026-2-82285-0 | ออมทรัพย์ | |
ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) | นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม (Mr.Arnon Chanjam) |
สยามสแควร์ | 038-404739-2 | ออมทรัพย์ | |
ธนาคารกรุงไทย (KTC) | นาย รณกฤต ชั้นแจ่ม (Mr.Arnon Chanjam) |
สยามสแควร์ | 052-0-06636-7 | ออมทรัพย์ | |
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (BAY) | บจก. ซีจีดีไซน์ เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จำกัด | บิ๊กซี ลาดพร้าว | 106-1-35915-7 | ออมทรัพย์ |
3. สั่งจ่ายเช็คขีดคร่อมในนาม บจก. ซีจีดีไซน์ เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์
4. สามารถชำระด้วยบัตรเครดิตได้ที่สถาบัน
**การชำระบัตรเครดิตจะมีค่าธรรมเรียนการใช้บัตร 3% จากราคาที่ชำระค่าอบรม
หมายเหตุ
กรณีโอนเงินกรุณาแฟกซ์ หรือส่งหลักฐานการชำระเงินมาที่สถาบันซีจีดีไซน์ เทรนนิ่งเซ็นเตอร์
หรือช่องทางต่างๆ ที่สะดวกได้ดังนี้
- Line id : @CGDESIGN
- FAX 02-938-6854
- Email มาที่ cgdesignschool@gmail.com
- โทรมาแจ้งที่ Call Center : 099-449-5699
(ติดต่อคุณปู)
และนำใบโอนเงินมาในวันอบรม
การยกเลิก : กรณีที่ท่านได้สำรองที่นั่งไว้แล้ว และจ่ายค่าอบรมแล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วมอบรมได้ ทางสถาบันฯจะไม่คืนค่าอบรมไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น
** หากมีรายละเอียดสอบถามเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ Call Center : 099-449-5699 (ติดต่อคุณปู)
1. ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละหลักสูตรจะได้เรียนรู้คำสั่งเพื่อการใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ เน้นการใช้งานเป็นหลัก ไม่ได้สอนตามหนังสือ แต่สอนสร้างจริง ทำงานจริงเห็นงานออกมาแล้วสามารถนำไปใช้จริงได้ทั้งเรียน หรือ ทำงานพร้อมหลักการแนวคิดของแต่ละโปรแกรมจากอาจารย์ ที่มีประสบการณ์ทั้งการสอนและการทำงาน ด้านออกแบบมากกว่า 25 ปี ไม่มีกั๊ก อยากรู้อะไรถาม อยากเป็นอะไรบอกเพราะเราต้องการ ให้คุณได้ สามารถนำไปพัฒนาวงการและพัฒนาประเทศชาติ อีกทั้งพัฒนาตัวเองให้มีคุณค่าและภูมิใจในตัวเอง
2.ผู้ผ่านการอบรมเมื่อมีปัญหาของโปรแกรมสามารถปรึกษาอาจารย์ได้ตลอดเวลา ทาง Facebook และ Line ได้ตลอดเวลา
3.ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับใบประกาศนียบัตรรับรองโดยสถาบันซีจีดีไซน์ เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์เพื่อรับรองการอบรมแต่ต้องส่งผลงานให้อาจารย์พิจารณาก่อนว่าผ่านหรือไม่ ดังนั้นผู้ที่จะได้รับใบประกาศนียบัตร สามารถมั่นใจได้ว่าสามารถไปสมัครงานหรือศึกษาต่อได้อย่างแน่นอน
4.ผู้ที่มาอบรมกับทางเราสามารถปรึกษางานเกี่ยวกับโปรแกรมหรือวิธีคิดในเรื่องการออกแบบงานก่อสร้าง, งานสถาปัตยกรรม, ตกแต่งภายในกับอาจารย์เป็นพิเศษได้ผ่านช่องทาง Social เช่น Facebook, Line ของอาจารย์ได้โดยตรงไม่ต้องกลัวเวลามีปัญหาในเรื่องของโปรแกรมและการออกแบบ
Lesson : 01
• ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ BIM (Building Information Modeling)
• หลักการในการเขียนแบบ 2 มิติและ3มิติ และทำความรู้จักกับโปรแกรม Revit
• แนะนำการใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ Autodesk Revit (User Interface)
• การปรับแต่ง Ribbon, Panel Button, Option bar, Project Browser, Prpperties etc.
• การแก้ปัญหาเกี่ยวกับหน้าจอโปรแกรมในกรณีที่ส่วนต่างๆหายไป
• เทคนิคในการดูวิธีใช้เครื่องมือใน Revit เบื้องต้น
• การเริ่มต้นสร้างงาน 3 มิติและการเริ่มวางแผนในการสร้างงานอย่างรวดเร็ว
• การกำหนดหน่วยในการเขียนงาน (Project Unit)
• เทคนิคในการแสดงคีย์ลัดทั้งหมดของโปรแกรม Revit
• ตัวช่วยในการกำหนดตำแหน่งบนวัตถุ (Snap)
• การกำหนดมาตราส่วนของมุมมอง (View Scale)
• การกำหนดระดับรายละเอียดในมุมมอง (Detail Level)
• การกำหนดรูปแบบการแสดงผลตัวโมเดล (Model Graphics Style)
• การกำหนดมุมมองรูปด้าน (Elevation Views)และการใช้สัญลักษณ์ Elevation Tag
• การเลือกวัตถุ (Selecting Elements)
• การใช้เครื่องมือในการควบคุมต่างๆ (Controls and Shape Handles)
• การใช้คำสั่ง Undo, Redo และการยกเลิกคำสั่ง
• การกำหนดระดับพื้นอ้างอิงของอาคาร (Levels)
• การเพิ่มระดับพื้นอาคาร (Adding Levels)
• การแก้ไขชื่อและแก้ไขระดับความสูงพื้นอาคาร (Rename&Editing Levels)
• การกำหนดการแสดงผลของเส้นระดับพื้นอ้างอิงของอาคาร
• การปรับแต่งคุณสมบัติของเส้นระดับพื้นอ้างอิง (Level Properties)
• การเขียนและแก้ไขเส้นกริดเสาของอาคาร (Grids)
• การใส่เส้นบอกระยะ (Dimension)
• การปรับรูปแบบเส้นบอกระยะ (Modify Dimension)
• เทคนิคการบอกระยะสำหรับงานต่างประเทศ
• เทคนิคการปรับสีของหน้าจอและการเลือกวัตถุเพื่อให้เห็นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 1
Lesson : 02
• เรียนรู้การใช้งาน View Range เพื่อการแสดงผล
• การใส่เสาในงานสถาปัตยกรรม (Architectural Columns)
• เทคนิคในปรับแต่งคีย์ลัดของโปรแกรมเพื่อความสะดวกในการทำงาน
• การสร้างผนัง (Adding Walls)
• การเขียนผนังด้วยวิธีต่างๆ
• การกำหนดคุณสมบัติของผนังอาคาร (Wall Type Properties)
• การกำหนดตัวเลือกต่างๆ ของการสร้างผนัง
• การใส่วัสดุและลวดลายให้กับผนังอาคาร
• การเขียนผนังในแบบแปลนอาคาร
• หลักการเลือกผนังทั้งหมดที่ต้องการอย่างรวดเร็ว
• การกลับด้านของผนัง (Flip Walls)
• เทคนิคการเขียนผนังในงานออกแบบสถาปัตยกรรม
• การแก้ไขรูปร่างหน้าตัดของผนัง (Edit Profile)
• การแบ่งผนังออกเป็นส่วนๆ
• การแบ่งผนังออกเป็นส่วนๆ
• เทคนิคการปิด Finishing ผนังภายนอก
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 2
Lesson : 03
• การปรับเปลี่ยนมุมมอง 3 มิติและ Perspective 3D View
• เทคนิคการเพิ่ม Properties Paletteบนแถบ Ribbon&Quick Access Toolbar
• การเขียนผนังในแบบแปลนอาคาร (ต่อ)
• เทคนิคการเจาะช่องเปิดในผนังตรงและผนังโค้ง
• การใส่ประตูและหน้าต่างลงบนผนัง (Placing Doors and Windows)
• การพลิกหรือกลับประตูและหน้าต่าง (Flip Doors and Windows)
• เรียนรู้การกำหนดทิศทางการเปิดของประตู และหน้าต่าง
• การปรับแต่งคุณสมบัติ (Parameters) ของประตูและหน้าต่าง
• การสร้างและปรับแต่งผนัง Curtain Wall กระจก
• เทคนิคการใส่ประตูกระจกให้กับผนัง Curtain Wall
• การใช้งาน Curtain Grid
• เทคนิคการซ่อนและยกเลิกการซ่อนวัตถุ
• เทคนิคการ Import file CAD และจัดการ Layer
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 3
Lesson : 04
• การใช้สัญลักษณ์ EQ ในการจัดระยะที่เท่าๆกัน
• การย้ายวัตถุ (Move),การคัดลอกวัตถุ (Copy),การหมุนวัตถุ (Rotate),การคัดลอกวัตถุเป็นกลุ่ม(Array),การคัดลอกวัตถุแบบกลับด้าน (Mirror),การปรับขนาดวัตถุ (Scale),การจัดแนว (Align),การตัดหรือยืดขยายวัตถุ (Trim/Extend) และ การคัดลอกวัตถุตามระยะที่กำหนด (Offset)
• การสร้างพื้นในแบบเขียนเส้นรอบรูปของพื้น (Floors)
• การปรับแต่งคุณสมบัติ (Parameters) ของพื้น
• การสร้างฝ้าเพดานแบบอัตโนมัติ (Automatic Ceilings)
• การสร้างเพดานด้วยวิธีการเขียนเส้นฝ้าเพดาน (Sketch Ceilings)
• เทคนิคการใช้งาน Section BOXและการนำเสนองานต่อไป
• เทคนิคการสร้าง Section Perspective
• เทคนิคการใช้งาน Filter เพื่อการเลือกวัตถุที่รวดเร็วยิ่งขึ้น
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 4
Lesson : 05
• การสร้างบันไดในรูปแบบต่างๆ เช่น บันไดตรง, บันไดรูปตัว L,บันไดรูปตัว U, บันไดเวียน (Creating Stairs)
• การปรับค่าพารามิเตอร์ของบันไดและการคำนวณบันได (Railing)
• การสร้างราวกันตกและการปรับแต่งพารามิเตอร์ (Railing)
• การสร้างหลังคา (Creating Roofs)
• การสร้างบัวเชิงผนังและการแก้ไขบัวเชิงผนัง
• การสร้างการเซาะร่องผนัง
• การสร้างชายคาของหลังคา
• การสร้างเชิงชายของหลังคา
• การสร้างรางน้ำของหลังคา
• เทคนิคการใส่ชื่อห้องพร้อมแสดงพื้นที่ของอาคาร
• เทคนิคการใส่สีแปลนพื้นพร้อมรายละเอียด
• การใส่เฟอร์นิเจอร์ (Furniture)
• การLoad Family เข้ามาในโปรแกรม Revit
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 5
Lesson : 06
• เทคนิคการใส่ชื่อห้องพร้อมแสดงพื้นที่ของอาคาร
• การกำหนดทิศทางการวางตัวอาคารตามตำแหน่งที่ตั้งจริง
• เทคนิคการกำหนดทิศเหนือจริงให้กับอาคาร
• การใส่ต้นไม้ คน รถ เพื่อการตกแต่งบรรยากาศ
• การใส่แสงพระอาทิตย์และแสงในรูปแบบต่างๆ
• เทคนิคการใช้ Callout ในมุมมอง 3D และ 2D
• เทคนิคการสร้างแบบขยายใน Legends
• การสร้างรูป Section ของอาคาร
• เทคนิคการปรับ Graphic Diaplay เป็น Sletchy Line
• การใช้ Revision Clouds
• การใช้ Revision Sheet Issues/Revision Clouds
• การทำ Schedule เพื่อจัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่และให้เป็นตาราง
• เทคนิคการถอดแบบปริมาณของประตูและหน้าต่าง
• การใส่วัสดุและพื้นผิวสำหรับงานออกแบบ
• การตั้งค่าและการประมวลผลเพื่อ Render ออกมาเป็นภาพนิ่ง
• การจัดมุมมอง (View Controls)
• การถอดรายละเอียดจำนวนประตูและหน้าต่าง
• การใส่เพิ่มหน้ากระดาษ (Sheets)
• การเพิ่มมุมมองใหม่บนกระดาษ
Workshop : การสร้างอาคารพักอาศัย ครั้งที่ 6
Lesson : 07 :
• หลักการในการสร้าง 3 มิติ และทำความรู้จักกับโปรแกรม Lumion
• เรียนรู้หน้าตาของโปรแกรมและการเริ่มต้นโปรแกรม
• แนะนำการติดตั้งโปรแกรมและแก้ปัญหาที่เกิดจากติดตั้ง จาก Lumion
• แนะนำ Spec เครื่องพิวเตอร์เพื่อการทำงานด้านออกแบบทุกประเภท
• ทำความรู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ ที่จำเป็นกับงานออกแบบทุกประเภท
• การควบคุมหน้าจอหรือกล้องของโปรแกรมเพื่อความรวดเร็วในการทำงาน
• การใช้เมาส์และคีย์บอร์ดเพื่อควบคุมการทำงานของโปรแกรม
• การควบคุมเส้นทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์และความสูงของดวงอาทิตย์
• การควบคุมบรรยากาศกลางวันและกลางคืน
• การปรับสภาพของท้องฟ้าให้เป็นช่วงเวลาต่างๆ ตามต้องการ(Weather and Environment)
• การบันทึกไฟล์งาน (Scene)และการส่งออกไฟล์งาน (Export)
• การเริ่มต้นไฟล์งานใหม่
• หลักการใช้ Layer ใน Lumion
Workshop : เรียนรู้การใช้โปรแกรมและจัดองค์ประกอบของภาพ
Lesson : 08 :
• การนำเข้าโมเดลงานออกแบบสถาปัตยกรรมจากโปรแกรมอื่นๆ เข้ามาใช้งาน
• เทคนิคการนำโมเดลจากโปรแกรม Revit เข้ามาใช้งานในโปรแกรม Lumion
• เทคนิคการนำโมเดลจากโปรแกรม Sketchup เข้ามาใช้งานในโปรแกรม Lumion
• เทคนิคการนำโมเดลจากโปรแกรม Autodesk 3dsmax เข้ามาใช้งานในโปรแกรม Lumion
• การ Update Modelไฟล์งานต้นฉบับจากโปรแกรมอื่นๆ
• เทคนิคการวางวัตถุ, เคลื่อนย้าย, การลบวัตถุ, การปรับขนาดของวัตถุในรูปแบบต่างๆ
• การ Transformations ในรูปแบบต่างๆ
• การใส่วัสดุให้กับโมเดลที่นำเข้ามาใช้ใน Lumion
• การใส่วัสดุที่เป็นกระจก, วัตถุเรืองแสงและฟุ้งกระจาย
• การปรับและแก้ไขวัสดุที่ใช้ใน Lumionและการบันทึกวัสดุไว้ใช้งาน
• การตกแต่งบรรยากาศในส่วนของเนินดินและ Landscape
Workshop : การตกแต่งบรรยากาศงานสถาปัตยกรรมภายนอก
Lesson : 09 :
• การสร้างน้ำและการปรับชนิดของน้ำในรูปแบบต่างๆ
• การสร้างมหาสมุทรและการปรับค่าพารามิเตอร์ต่างๆ
• การสร้างหญ้าและการสร้างพื้นผิวชนิดต่างๆ
• การดึงโมเดลเข้ามาตกแต่งบรรยากาศภายในงาน เช่น ต้นไม้, รถ, คน, เฟอร์นิเจอร์, อาคาร ฯลฯและการปรับตกแต่งค่าต่างๆ
• การใส่เสียง Effect บรรยากาศต่างๆ เช่น เสียงจิ้งหรีด, น้ำตก, เสียงคนคุยกัน, เสียงรถ ฯลฯและการปรับตกแต่งค่าต่างๆ
• การใส่ Effect ต่างๆ เช่น น้ำพุ, น้ำตก, ไฟ, หมอก, ควัน, ใบไม้ร่วง ฯลฯ และการปรับตกแต่งค่าต่างๆ
• การใส่แสงประดิษฐ์ในงานออกแบบและการปรับตกแต่งค่าต่างๆ
• การใช้ Mass placement ให้กับวัตถุ
• เทคนิคการจัดองค์ประกอบของภาพ
• การสร้างภาพนิ่งให้กับงานที่สร้างจากโปรแกรม Lumion
Workshop : การตกแต่งบรรยากาศงานสถาปัตยกรรมภายใน
Lesson : 10 :
• การสร้างภาพเคลื่อนไหวให้กับงานที่สร้างจากโปรแกรม Lumion
• เทคนิคการสร้างวัตถุเคลื่อนไหว
• หลักการตั้งกล้องให้กับงานที่สร้างจากโปรแกรม
• การให้กล้องเคลื่อนที่, ซูม, เลื่อน แบบ Animation
• การตั้งค่าความเร็วของคลิปแต่ละคลิปที่สร้าง
• การส่งออกไฟล์ Animation
• การปรับตกแต่งภาพ Filter ต่างๆให้กับภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว
• การใส่ Special Effects ให้กับคลิปวีดีโอ
• การใส่ Special Effects หลายๆ ชนิดให้กับวีดีโอทั้งหมด
• การใส่เพลงให้กับวีดีโอ
• เทคนิคการทำรถวิ่ง คนเดิน
• เทคนิคการ Animation ให้กับวัตถุ
• เทคนิคการ Output ผลงานเป็นวีดีโอและภาพนิ่ง
Workshop : การสร้างงาน Animation
ตอบ-ปัญหาที่สงสัยโดยประสบการณ์ของวิทยากร